สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) - สดร.
เราทำเพราะเชื่อมั่น ว่าสิ่งที่ทำสามารถเปลี่ยนแปลงประเทศได้
เชื่อมั่น
มุ่งมั่น
ต่อยอด
เชื่อมต่อ
สร้างคน
OUR MISSION
วิจัย
OUR SERVICES
ประชาชนทั่วไป
โรงเรียน
นักวิจัย
ภาคอุตสาหกรรม
OUR OBSERVATORIES & TELESCOPES
หอดูดาวแห่งชาติ
Thai National Observatory
หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ
Thai National Radio Astronomy Observatory
อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร
Princess Sirindhorn AstroPark
หอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน
Regional Observatory for the Public
กล้องโทรทรรศน์อัตโนมัติในต่างประเทศ
Thai Robotic Telescope Network
Upcoming Events
Dark Sky Star Party 2025
กลับมาอีกครั้ง ! มหกรรมท่องเที่ยวดูดาว ที่ใหญ่ที่สุดในประเทศไทย “Dark Sky Star Party” ปีนี้พบกันที่ เขาใหญ่ เขตอุทยานท้องฟ้ามืดที่มีทัศนวิสัยท้องฟ้าดีที่สุดแห่งหนึ่งของไทย
มี.ค.
1
VISIT US
ท้องฟ้าจำลอง และนิทรรศการ
Social Media
ข่าวดาราศาสตร์
16 กุมภาพันธ์ 2568
“ดาวศุกร์สว่างที่สุด” ครั้งแรกของปี 68 อวดโฉมช่วงหัวค่ำ เห็นชัดทั่วไทย
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยภาพ “ดาวศุกร์สว่างที่สุด” ช่วงหัวค่ำ วันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2568 ปรากฏสว่างเด่นทางทิศตะวันตก ตั้งแต่ดวงอาทิตย์ลับขอบฟ้า จนถึงเวลาประมาณ 21:09 น. เห็นชัดด้วยตาเปล่าทั่วไทย
11 กุมภาพันธ์ 2568
ค่ำ 16 ก.พ. 68 “ดาวศุกร์สว่างที่สุด” ครั้งแรกของปี
สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร. หรือ NARIT) กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.) เผยช่วงค่ำวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2568 “ดาวศุกร์สว่างที่สุด” ครั้งแรกของปีนี้ ปรากฏสว่างเด่นทางทิศตะวันตก เห็นได้ด้วยตาเปล่า ตั้งแต่ช่วงหัวค่ำ จนถึงเวลาประมาณ 21:00 น. หากดูผ่านกล้องโทรทรรศน์จะเห็นดาวศุกร์ปรากฏเป็นเสี้ยวคล้ายดวงจันทร์
06 กุมภาพันธ์ 2568
ภาพจานดาวเคราะห์ก่อนเกิด จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เว็บบ์
กล้องโทรทรรศน์อวกาศเจมส์เว็บบ์ (James Webb Space Telescope: JWST) เผยให้เห็นถึง "จานดาวเคราะห์ก่อนเกิด" (Protoplanetary disc) ในแบบที่ไม่มีใครเคยเห็นมาก่อน
03 กุมภาพันธ์ 2568
สำนักงานปกป้องดาวเคราะห์ (Planetary Defense Office) ขององค์กรอวกาศยุโรป (ESA)
กำลังเฝ้าติดตาม 2024 YR4 ดาวเคราะห์น้อยที่ค้นพบใหม่ ซึ่งอาจมีโอกาสที่จะพุ่งชนโลกในปี ค.ศ. 2032 แต่เป็นไปได้น้อยมาก