วันที่ 10 เมษายน พ.ศ. 2562 เวลา 20:00 น. หน่วยงานดาราศาสตร์แถลงผลงานวิจัยล่าสุดจากเครือข่ายกล้องโทรทรรศน์อีเวนต์ฮอไรซัน (Event Horizon Telescope : EHT) สามารถถ่ายภาพหลุมดำได้เป็นครั้งแรกในประวัติศาสตร์ นับเป็นความสำเร็จทางวิทยาศาสตร์อันยิ่งใหญ่อีกครั้งหนึ่งของมวลมนุษยชาติ
| |นักวิทยาศาสตร์พบหลักฐานที่แสดงให้เห็นทะเลสาบโบราณใต้ผิวดาวอังคาร
ทุกวันนี้ ผิวดาวอังคารนั้นแห้งแล้งและปรากฏเป็นสีแดงของสนิมเหล็ก แต่เมื่อปลายเดือนกุมภาพันธ์ ค.ศ. 2019 ที่เพิ่งผ่านมานี้ ยาน Mars Express ค้นพบหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่าใต้ผิวดาวอังคารเคยมีทะเลสาบหลายแห่งที่เชื่อมต่อกันโดยมีทะเลสาบ 5 แห่งที่มีแร่ธาตุที่เอื้อต่อการเกิดขึ้นของสิ่งมีชีวิต
| |โครงสร้างคล้ายลูกอ๊อดปรากฏบนดวงอาทิตย์
กว่า 150 ปีมาแล้วที่นักดาราศาสตร์ฉงนกับปริศนาที่ว่าเหตุใด บรรยากาศชั้นโคโรนาซึ่งเป็นบรรยากาศชั้นนอกสุดของดวงอาทิตย์จึงมีอุณหภูมิสูงยิ่งกว่าผิวดวงอาทิตย์ราว 200 เท่า ความร้อนมหาศาลนี้ทำให้อนุภาคมีประจุไฟฟ้าที่เคลื่อนผ่านมีความเร็วสูงอย่างยิ่ง และเมื่อมันพุ่งมายังโลกก็อาจก่อให้เกิดปัญหากับดาวเทียมสื่อสารหรือร่างกายนักบินอวกาศในสถานีอวกาศในระยะยาว รวมทั้งโครงสร้างที่เกี่ยวข้องกับไฟฟ้าอย่างโรงไฟฟ้าได้
| |นักวิทยาศาสตร์พบหินจากโลกไปอยู่บนดวงจันทร์
ในปี ค.ศ. 1971 นักบินอวกาศในโครงการอะพอลโล 14 เดินทางไปยังดวงจันทร์แล้วนำตัวอย่างหินบนดวงจันทร์กลับมายังโลกเพื่อศึกษา
| |ยาน Parker Solar Probe เฉียดใกล้ดวงอาทิตย์เป็นครั้งแรก
5 พฤศจิกายน ค.ศ. 2018 ที่ผ่านมา ยาน Parker Solar Probe ได้เข้าไปเฉียดใกล้ดวงอาทิตย์ในระยะห่าง 24 ล้านกิโลเมตรซึ้งใกล้กว่าที่ยานอวกาศทุกลำ ล่าสุดมันก็ได้ติดต่อกลับโลก พร้อมกับคอยส่งข้อมูลต่างๆ กลับมาอย่างต่อเนื่อง
| |สนามแม่เหล็กหลุมดำมวลยิ่งยวดคอยดึงสสารป้อนสู่หลุมดำ
ยานวอยเอเจอร์ 2 เดินทางใกล้ถึงที่ว่างระหว่างดาวฤกษ์แล้ว
มลภาวะทางแสงที่เกาะชวา
ICEsat-2 ดาวเทียมดวงใหม่ที่นาซาส่งไปสำรวจน้ำแข็งขั้วโลก
องค์การบริหารการบินและอวกาศหรือนาซา ส่งดาวเทียมสำรวจธารน้ำแข็ง ICEsat-2 ขึ้นสู่อวกาศเมื่อวันเสาร์ที่ 15 กันยายน 2561 เวลา 17:46 ที่ผ่านมา (ตามเวลาในประเทศไทย) สำหรับภารกิจสำรวจและเก็บข้อมูลปริมาณการละลายของธารน้ำแข็งบนพื้นโลก เพื่อทำนายอัตราการเพิ่มขึ้นของระดับน้ำในมหาสมุทร ที่มีสาเหตุหลักจากสภาวะโลกร้อนในปัจจุบัน
| |