C1961R1 Humason by Rawi Bhavilai

              ดาวหาง ฮูมาซอน ชื่อเดิม C/1961 R1 (หรือที่เรียกว่า 1962 VIII and 1961e) เป็นดาวหางที่โคจรแบบไม่มีคาบที่แน่นอน ถูกค้นพบโดย Milton L. Humason เมื่อวันที่ 1 กันยายน 1961.  ระยะทางที่ใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุดของดาวหางนี้อยู่ไกลกว่าวงโคจรของดาวอังคารรอบดวงอาทิตย์ หรือ ที่ 2.133 AU. ระยะเวลาในการโคจรของมันออกไปจากดวงอาทิตย์ประมาณ 2516 ปี ดาวหางนี้มีขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางของนิวเครียสประมาณ 30-41 กม [2] มันเป็นดาวหางยักษ์ ที่มีปฏิกิริยามากกว่าดาวหางปกติที่ระยะห่างจากดวงอาทิตย์เท่าๆ กัน ด้วยความสว่าง 1.5 -3.5 แมกนิจูด ซึ่งสว่างกว่าของดาวหางทั่วไปถึง 100 เท่า ทำให้สามารถมองเห็นดาวหางนี้อย่างเด่นชัดบนท้องฟ้า และสเปกตรัมจากหางของดาวหางบ่งบอกถึงองค์ประกอบที่หนาแน่นไปด้วยไอออน CO+  ซึ่งมีลักษณะเข่นเดียวกันกับที่พบในหางของดาวหาง Morehouse (C/1908 R1). [4]

 

00

อ.ระวี ภาวิไล ในขณะนั้นได้ศึกษาต่อระดับปริญญาเอก ณ ประเทศออสเตรเลีย ได้เฝ้าสังเกตการณ์ดาวหาง Humason ที่ปรากฏอยู่ในช่วงปี พ.ศ. 2504

 

01

02

03

04

กล่องบรรจุฟิลม์กระจกบันทึกภาพดาวหาง Humason

 

05

06

07

08

09

10

11

12

13

14

15

16

17

18

19

20

21

22

ฟิลม์กระจกบันทึกภาพดาวหาง Humason

 

23

24

25

26

27

28

29

30

31

32

ภาพดาวหาง Humason

 

34

35

36

37

38

39

ภาพแสกนจากฟิล์มกระจก

 update 25 มิถุนายน 2563