จากแรกเริ่มสู่ปัจจุบัน

ภาพเปรียบเทียบพื้นที่ในอดีตและปัจจุบัน ณ บริเวณอุทยานดาราศาสตร์สิรินธร โดยภาพในอดีตถ่ายไว้เมื่อวันที่ 19 ธันวาคม พ.ศ. 2552  เมื่อ 11 ปีที่แล้ว คณะกรรมการบริหารสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ  รศ.บุญรักษา สุนทรธรรม ผู้อำนวยการ พร้อมเจ้าหน้าที่ สดร. เข้าสำรวจพื้นที่ก่อนที่สถาบันฯ จะได้ดำเนินการก่อสร้างอาคารฯ จนกลายมาเป็นอุทยานดาราศาสตร์สิรินธร ที่เห็นกันในทุกวันนี้

 

2552

01 02

03 04

 

ปัจจุบัน

06 06

07 08

 

หอจดหมายเหตุภายในประเทศ

สำนักหอจดหมายเหตุแห่งชาติ :

https://virtualarchives.nat.go.th/

 

นิทรรศการเสมือนจริง :

https://virtualarchives.nat.go.th/tour/

 

หอจดหมายเหตุ ธนาคารแห่งประเทศไทย :

https://www.botlc.or.th/archives

 

หอจดหมายเหตุพุทธทาส อินทปัญโญ :

https://www.bia.or.th/

 

คลังจดหมายเหตุดิจิทัล สถาบันพิพิธภัณฑ์การเรียนรู้แห่งชาติ :

https://archives.museumsiam.org/

 

ฐานข้อมูลจดหมายเหตุมานุษยวิทยา :

https://www.sac.or.th/databases/anthroarchive/index.php

 

หอจดหมายเหตุต่างประเทศ

หอจดหมายเหตุแห่งชาติจีน :
http://www.shac.net.cn/shac_en/sy_135/

 

หอจดหมายเหตุแห่งชาติญี่ปุ่น :
http://www.archives.go.jp/english/

 

หอจดหมายเหตุแห่งชาติสิงคโปร์ :
http://www.nas.gov.sg/

 

หอจดหมายเหตุแห่งชาติเกาหลี :
http://www.archives.go.kr/english/index.jsp

 

หอจดหมายเหตุแห่งชาติไต้หวัน :
https://www.archives.gov.tw/english/

 

หอจดหมายเหตุแห่งชาติสหรัฐอเมริกา:
https://www.archives.gov/

 

หอจดหมายเหตุแห่งชาติอังกฤษ:
http://www.nationalarchives.gov.uk/

 

องค์กรจดหมายเหตุระหว่างประเทศ

สภาจดหมายเหตุระหว่างประเทศ:
https://www.ica.org/en

 

banner 08 banner 03 banner 02 banner 07 banner 04 banner 05 banner 06

หอจดหมายเหตุดาราศาสตร์

หอจดหมายเหตุดาราศาสตร์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 - ปีปัจจุบัน

 

naru 20230502 01                  

จดหมายเหตุ 2566

 

 

 

 

 

 

 

archive 20220401 01        naru 20211109 01        2563 intro

จดหมายเหตุ 2565

 

 

จดหมายเหตุ 2564

 

 

จดหมายเหตุ 2563

 

02        2561 intro        2560 intro

จดหมายเหตุ 2562

 

 

จดหมายเหตุ 2561

 

 

จดหมายเหตุ 2560

 

2559 intro   2558 intro   siri1

จดหมายเหตุ 2559

 

 

จดหมายเหตุ 2558

 

 

สิริมงคล

 

archive intro   start intro     

จดหมายเหตุดาราศาสตร์ไทย

 

 

จากแรกเริ่มสู่ปัจจุบัน 

 

 

 

 

 

NARU 01

ความเป็นมาของหอจดหมายเหตุ

          สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) (สดร.) จัดตั้งขึ้นเมื่อวันที่ 1 มกราคม พ.ศ. 2552 เป็นองค์กรภายใต้การกำกับดูแลของกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (วท.) ต่อมามีมติ ครม. เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2562 ให้ควบรวมกระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.) เข้าไว้ในกระทรวงเดียวกัน เพื่อให้สามารถกำหนดทิศทางด้านการวิจัยและเกิดการบูรณาการการทำงานร่วมกัน โดยใช้ชื่อว่า กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (อว.)

         สถาบันมีวัตถุประสงค์การจัดตั้งเพื่อการวิจัย การบริการวิชาการถ่ายทอดองค์ความรู้และเทคโนโลยีด้านดาราศาสตร์ การสร้างเครือข่ายด้านดาราศาสตร์ทั้งในระดับประเทศและนานาชาติ ที่ผ่านมาสถาบันได้พัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางดาราศาตร์ของที่สำคัญของประเทศไทย ได้แก่ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติ 7 รอบพระชนมพรรษา หอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร เครือข่ายกล้องโทรทรรศน์ควบคุมระยะไกลอัตโนมัติ หอสังเกตุตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ และในอนาคตยังจะดำเนินการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางดาราศาสตร์เพิ่มเติมอีก อาทิ ห้องปฎิบัติการขั้นสูงด้านดาราศาสตร์และเทคโนโลยีอวกาศ เป็นต้น

         การดำเนินการที่ผ่านมามีเอกสารราชการสำคัญที่เกี่ยวข้องกับภารกิจ และการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางดาราศาสตร์จำนวนมากที่สมควรอย่างยิ่งที่จะต้องเก็บรักษาและอนุรักษ์ไว้ นอกจากนี้ ยังมีบันทึกเอกสารทางประวัติศาสตร์ วรรณคดี และศิลปกรรมของชาติไทยที่เกี่ยวข้องกับดาราศาสตร์ที่สมควรเก็บรักษาและอนุรักษ์ไว้อีกมากมาย

         หอจดหมายเหตุดาราศาสตร์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (NARU : NARIT Archives & Records Unit) จึงถูกจัดตั้งขึ้นเพื่อเป็นหน่วย รวบรวม จัดเก็บ สงวนรักษาอย่างเป็นระบบและให้บริการซึ่ง เอกสาร บันทึกสารสนเทศ บันทึกข้อมูลลงในวัสดุและสื่อที่มีรูปแบบต่าง ๆ ตามพัฒนาการของเทคโนโลยีและยุคสมัยที่เปลี่ยนไป ของสถาบันหรือของบุคคล ที่ได้จัดทำขึ้นหรือรับไว้เพื่อใช้ในการดำเนินงาน กิจกรรมต่าง ๆ ซึ่งสิ้นกระแสตามการปฏิบัติงานของหน่วยงานแล้ว และได้รับการประเมินคุณค่าอย่างถูกต้องแล้วว่า มีความสำคัญ สมควรแก่การเก็บรักษาระยะยาว ไม่ให้สูญหายไปตามกาลเวลา อนุรักษ์ไว้เป็นมรดกทางวัฒนธรรม เป็นข้อมูลทางประวัติศาสตร์ทางดาราศาสตร์ของไทย เพื่อประโยชน์ในการศึกษา ค้นคว้า และวิจัยทางด้านประวัติศาสตร์ดาราศาสตร์ไทยต่อไป

NARU

N = National Astronomical Research Institute of Thailand (NARIT)

A = Archives

R = Records

U = Unit

คำย่อ “NARU” คำอ่านออกเสียงภาษาไทยว่า “น่ารู้”

สีน้ำเงิน แสดงถึง สถาบันพระมหากษัตริย์ไทย

สีส้ม แสดงถึง สีประจำวันพระราชสมภพของพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว คือ วันพฤหัสบดี

ดาวประจำยาม (สีส้ม) แสดงถึง ลายไทยพื้นฐานรูปสี่เหลี่ยมทแยงมุมมีลักษณะคล้ายดอกไม้สี่กลีบ ซึ่งเปรียบ เสมือนพระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4

 

ความหมายของสัญลักษณ์

         สัญลักษณ์ของจดหมายเหตุดาราศาสตร์ ประกอบด้วย อักษรย่อ “NARU” (NARIT Archives & Records Unit) และ "ดาวประจำยาม" NARU มีอักษรเป็นสีน้ำเงินอันเป็นศิริมงคลด้วยแสดงถึงสถาบันพระมหากษัตริย์ไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 4 แห่งกรุงรัตนโกสินทร์ ทรงพระอัจฉริยภาพทางด้านดาราศาสตร์ และได้รับการยกย่องว่าเป็นบิดาแห่งวิทยาศาสตร์ไทย

         โดยตำแหน่งของ “ดาวประจำยาม” อยู่ด้านบนขวาของอักษร N ซึ่งเป็นอักษรย่อของ NARIT แสดงนัยว่า NARIT เป็น North celestial pole คือ ขั้วฟ้าเหนือ ที่เป็นจุดอ้างอิงในการกำหนดวัดตำแหน่งของวัตถุท้องฟ้า สื่อความหมายว่า NARU ทำหน้าที่เป็นหน่วยรวบรวมข้อมูล เป็นแหล่งอ้างอิงทางด้านดาราศาสตร์ที่มีคุณค่า และอนุรักษ์มรดกทางวัฒนธรรมและประวัติศาสตร์ทางด้านดาราศาสตร์ของไทย


ข้อมูลติดต่อ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

สถานที่ตั้ง : 260 หมู่ 4 อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร ตำบลดอนแก้ว อำเภอแม่ริม จังหวัดเชียงใหม่ 50180
โทรศัพท์ 053-121268-9 โทรสาร : 053-121250
งานจดหมายเหตุดาราศาสตร์ ต่อ 202 (จิราภา อัครวิทยาพันธุ์)
Email : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
เว็บไซต์หอจดหมายเหตุดาราศาสตร์ : http://www.narit.or.th/naru/
เว็บไซต์ : http://www.narit.or.th/
FB : https://www.facebook.com/NARITpage

 


Background

National Astronomical Research Institute of Thailand (public organization) was established on 1 January 2009 which was under supervision of Ministry of Science and Technology (ST). Later the Thai government cabinet has commanded on 1 May 2019 that the Ministry of Science and Technology, Higher education, Research council, and TRF were merged to be a new ministry of Higher Education Science research and Innovation

The objective of establishment of NARIT are to carry out research, teach, train, transfer knowledge and technology related to astronomy, and to create networking at national and international level. In the past several years NARIT has built important infrastructures for Thailand, such as Thailand National observatory, regional observatories for public, AstroPark, Thai Robotic telescope, National Radio Observatories. Furthermore, in the near future, NARIT is going to build more infrastructures, such as advanced Laboratories and space technologies.

From the beginning of the operation of NARIT, there have been many important official documents related to the NARIT’s missions and the infrastructure development for astronomy of Thailand which are needed to be kept and conserved. In addition, there are also documents related to histories, literacies and arts of Thai Nation which is related to astronomy are needed to be kept and conserved.

NARIT Archives & Records Unit (NARU) therefore was established as a unit to run all necessary archives activities systematically, such as 1) collecting, keeping, conserving documents, 2) servicing documents, information and 3) recording documents and information in a variety of media depending on available technologies. These documents must be no longer in the current use in the office but are valuable to be kept in the long term or permanently in archives. These documents will be a cultural heritage of historical information of Thailand’s astronomy for the benefits of further studies or research in astronomical history of Thailand.

 

Nature

N = National Astronomical Research Institute of Thailand (NARIT)

A = Archives

R = Records

U = Unit

Abbreviations “NARU” is called “Na”–“Ru”

Blue is referring to Thai Monarchy

Orange is referring to the color of Thursday which is the day of birth of King Rama 4 of Chakri Dynasty

Stars (orange) are referring basic Thai pattern similar to flowers with 4 lobes reflecting to King Rama 4 of Chakri Dynasty

 

Meaning of LOGO

The logo of NARIT Archives & Records Unit (NARU) is consist of abbreviations “NARU” and traditional Thai drawing stars. The colour of NARU is blue referring to Monarchy, especially the King Rama 4 of Chakri Dynasty who was an expert in astronomy and praised as “Farther of Thai Science”

The positions of stars are on the top of N, implying that NARIT is on the North celestial pole which is the reference point for locating celestial objects. This implies that NARU will act as a center for information collection, a reference for valuable astronomical information and the conservation of cultural heritage and history of astronomy of Thailand.


Contact: National Astronomical Research Institute of Thailand (Public Organization)

260 Moo 4, T. Donkaew, A. Maerim, Chiangmai, 50180 Thailand
Telephone: (+66) 53 121 268-9
Fax: (+66) 53 121 250
NARU ext 202 (Mrs. Chirapa Aukkaravittayapun)
Email : This email address is being protected from spambots. You need JavaScript enabled to view it.
NARU website : http://www.narit.or.th/naru/
website : http://www.narit.or.th/
FB : https://www.facebook.com/NARITpage

 

 

หอจดหมายเหตุดาราศาสตร์

หอจดหมายเหตุดาราศาสตร์ สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2558 - ปีปัจจุบัน

 

เสวนา

ภูมิปัญญาจากสรรพตำราดาราศาสตร์ไทย


วันที่ 2 กันยายน พ.. 2565 เวลา 8.30-21.00 น.

ณ อาคารท้องฟ้าจำลองและนิทรรศการ ห้องแอนโดรเมดา

อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร จังหวัดเชียงใหม่

Read more ...

โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ

เรื่อง “จากปลายดินสอสู่ห้วงจักรวาล”
โดย อาจารย์ ชล วิชัยดิษฐ  ผู้ทรงคุณวุฒิด้านดาราศาสตร์ภาพ (
Visual Astronomy)

ระหว่างวันที่ 8-9 ธันวาคม พ.ศ. 2564 เวลา 9.00-22.00 น.

ณ ห้องแอนโดรเมดา  อาคารท้องฟ้าจำลองและนิทรรศการ อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร จังหวัดเชียงใหม่

Read more ...

โครงการวิจัย สำรวจ รวบรวมข้อมูลเอกสารทางสังคมและประวัติศาสตร์ ด้านดาราศาสตร์ล้านนา ในจังหวัดเชียงใหม่ จังหวัดลำปาง จังหวัดลำพูน และจังหวัดแพร่ “เทศกาลยี่เป็งกับความเชื่อนอกระบบ” การประชุมกาแล็กซี ฟอรัม เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 2020 ประเทศไทย (Galaxy Forum Southeast Asia 2020) เสวนาและนิทรรศการ เรื่อง “รำลึกครบรอบ 25 ปี สุริยุปราคาเต็มดวงในประเทศไทย เมื่อวันที่ 24 ตุลาคม 2538” นิทรรศการหอจดหมายเหตุดาราศาสตร์ ดาราศาสตร์กับปฏิทิน : แนวคิด ทฤษฎีและการประยุกต์ใช้ การสำรวจ ค้นคว้า รวบรวมเอกสารประวัติศาสตร์ดาราศาสตร์ไทย โครงการอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่อง “การคํานวณสุริยุปราคาเต็มดวง ตามรอย 150 ปี สรรพคราสหว้ากอ ในสมัยรัชกาลที่ 4” การค้นคว้ารวบรวมข้อมูลและให้ความรู้ เรื่อง “อารยธรรมและอารยสถานดาราศาสตร์ไทย” การบรรยายเชิงวิชาการ เรื่อง “ท้องฟ้า ดวงดาว ออเจ้า ประวัติศาสตร์”
Page 1 of 9