กำหนดการอบรมครูดาราศาสตร์ขั้นต้น ประจำปี 2567

teacher basic 2567 banner all

  narit  

กำหนดการ

โครงการอบรมครูเชิงปฏิบัติการด้านดาราศาสตร์ขั้นต้น ประจำปี 2567

สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)

กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัย และนวัตกรรม

*******************************************************************************

ครั้งที่ 1 จ. นครราชสีมา      วันที่ 19 – 21 มกราคม 2567     ณ หอดูดาวเฉลิมพระเกียรติฯ นครราชสีมา

ครั้งที่ 2 จ. ปทุมธานี         วันที่ 20 – 22 มีนาคม 2567     ณ บ้านวิทยาศาสตร์สิรินธร

ครั้งที่ 3 จ. ภูเก็ต               วันที่ 3 – 5 เมษายน 2567    ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏภูเก็ต

*******************************************************************************


วันที่หนึ่ง  

08.00 - 09.00

ลงทะเบียนเข้าร่วมกิจกรรมอบรม

09.00 - 09.30

ทดสอบก่อนฝึกอบรม (Pre-Test)

09.30 - 10.30

แนะนำสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน)
โดย วิทยากร จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

10:30 – 11:00

พักรับประทานอาหารว่าง

11:00 – 12:00 

บรรยายเรื่อง “การดูดาวเบื้องต้นและการเตรียมตัวสำหรับดูดาว” 
โดย วิทยากร จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

12:00 – 13:00

รับประทานอาหารกลางวัน

13:00 – 14:00

กิจกรรม “การใช้งานอุปกรณ์ดาราศาสตร์พื้นฐาน”
โดย ทีมวิทยากร จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

14:00 – 15:30

บรรยายเรื่อง “ทรงกลมท้องฟ้าและระบบพิกัดท้องฟ้า”
โดย วิทยากร จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

15:30 – 16:00

พักรับประทานอาหารว่าง

16:00 – 17:30

บรรยายและกิจกรรม เรื่อง “รู้จัก ลม ฟ้า อากาศ และก้อนเมฆ”
โดย ดร.บัญชา ธนบุญสมบัติ ผู้อำนวยการฝ่ายเผยแพร่เทคโนโลยี MTEC
สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ (สวทช.)

17:30 – 18:00

พักผ่อนตามอัธยาศัย

18:00 – 19:00

รับประทานอาหารเย็น 
เตรียมตัว/เดินทางไปยังสถานที่จัดกิจกรรมภาคสังเกตการณ์

19:00 – 20:30                                   

กิจกรรมภาคสังเกตการณ์ “การสังเกตการณ์ท้องฟ้าจริงเบื้องต้น”
   - การสังเกตการณ์ท้องฟ้าด้วยตาเปล่า กล้องสองตา และกล้องโทรทรรศน์ 
     โดย ทีมวิทยากร จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ


วันที่สอง
 

08:30 – 09:00

จัดกลุ่มกิจกรรม/ชี้แจงการเข้าร่วมกิจกรรมฐานการเรียนรู้

09:00 – 10:20

กิจกรรมฐานการเรียนรู้ดาราศาสตร์ (เวียนฐาน กิจกรรมละ 40 นาที)
        กิจกรรมที่ 1 : การเกิดฤดูกาล                                     
        กิจกรรมที่ 2 : เวลาท้องถิ่น
        กิจกรรมที่ 3 : การสร้างแผนภาพ H-R Diagram                                     
        กิจกรรมที่ 4 : แบบจำลองแรงโน้มถ่วง                                     
        โดย ทีมวิทยากร จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

10:20 – 10:40

พักรับประทานอาหารว่าง

10:40 – 12:00

กิจกรรมฐานการเรียนรู้ดาราศาสตร์ (เวียนฐาน กิจกรรมละ 40 นาที) (ต่อ)
        กิจกรรมที่ 1 : การเกิดฤดูกาล
        กิจกรรมที่ 2 : เวลาท้องถิ่น
        กิจกรรมที่ 3 : การสร้างแผนภาพ H-R Diagram
        กิจกรรมที่ 4 : แบบจำลองแรงโน้มถ่วง
        โดย ทีมวิทยากร จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

12:00 – 13:00

รับประทานอาหารกลางวัน

13:00 – 13:30

แบ่งกลุ่มกิจกรรม/ชี้แจงการเข้าร่วมกิจกรรมฐานการเรียนรู้ (ภาคบ่าย)

13:30 – 15:10

กิจกรรมฐานการเรียนรู้ดาราศาสตร์ (เวียนฐาน กิจกรรมละ 50 นาที)
        กิจกรรมที่ 5 : ดาราศาสตร์ในช่วงคลื่นที่ตาเรามองไม่เห็น
        กิจกรรมที่ 6 : แบบจำลองหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์
        กิจกรรมที่ 7 : การใช้งานกล้องโทรทรรศน์เพื่อสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์
        กิจกรรมที่ 8 : การสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์
        โดย ทีมวิทยากร จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

15:10 – 15:50

พักรับประทานอาหารว่าง

15:50 – 17:30

กิจกรรมฐานการเรียนรู้ดาราศาสตร์ (เวียนฐาน กิจกรรมละ 50 นาที) (ต่อ)
        กิจกรรมที่ 5 : ดาราศาสตร์ในช่วงคลื่นที่ตาเรามองไม่เห็น
        กิจกรรมที่ 6 : แบบจำลองหลุมอุกกาบาตบนดวงจันทร์
        กิจกรรมที่ 7 : การใช้งานกล้องโทรทรรศน์เพื่อสังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์
        กิจกรรมที่ 8 : การสังเกตการณ์ดวงอาทิตย์
        โดย ทีมวิทยากร จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

17:30 – 18:00

พักผ่อนตามอัธยาศัย

18:00 – 19:00

รับประทานอาหารเย็น 
เตรียมตัว/เดินทางไปยังสถานที่จัดกิจกรรมภาคสังเกตการณ์

19:00 – 20:30

กิจกรรมภาคสังเกตการณ์“ฝึกปฏิบัติการสังเกตการณ์ท้องฟ้าจริง”
   - การฝึกปฏิบัติและทดสอบการสังเกตการณ์ด้วยกล้องโทรทรรศน์
     โดย ทีมวิทยากร จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

วันที่สาม

08:30 – 09:00

ติดตั้งซอฟต์แวร์ทางดาราศาสตร์"

09:00 – 10:00

บรรยายและกิจกรรมเรื่อง “การใช้งานซอฟต์แวร์ทางดาราศาสตร์"
โดย วิทยากร จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

10:00 – 10:20

พักรับประทานอาหารว่าง

10:20 – 12:00

บรรยายและกิจกรรมเรื่อง “การวางแผนการจัดกิจกรรมดูดาว"
โดย วิทยากร จากสถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ

12:00 – 13:00

รับประทานอาหารกลางวัน

13:00 – 13:30

ทดสอบหลังฝึกอบรม (Post-Test)

13:30 – 15:30

สรุปการจัดกิจกรรม/มอบประกาศนียบัตร/พิธีปิดการฝึกอบรม


หมายเหตุ

* กำหนดการอาจมีการเปลี่ยนแปลงได้ตามความเหมาะสม

** ผู้เข้าร่วมอบรม ต้องมีจำนวนชั่วโมงเข้าร่วมอบรม ทั้งกิจกรรมภาคบรรยาย ภาคปฏิบัติ และภาคสังเกตการณ์ (ในช่วงกลางคืน) ไม่น้อยกว่า ร้อยละ 80 ของจำนวนชั่วโมงตามที่หลักสูตรกำหนด

*** ครู หรือโรงเรียน ที่มีกล้องโทรทรรศน์ กล้องสองตา หรืออุปกรณ์สังเกตการณ์ทางดาราศาสตร์ สามารถนำอุปกรณ์มาเข้าร่วมกิจกรรมภาคปฏิบัติ และกิจกรรมสังเกตการณ์ (ภาคกลางคืน) ได้

**** กรุณานำ Computer Laptop/ Tablet/ Smart Phone มาใช้ระหว่างร่วมกิจกรรมอบรม เนื่องจากเป็นกิจกรรมในหัวข้อ "การใช้งานซอฟต์แวร์ทางดาราศาสตร์"

 

>> กำหนดการโครงการอบรมครูดาราศาสตร์ขั้นต้น ประจำปี 2567