ดาราศาสตร์ฟิสิกส์ช่วงคลื่นวิทยุ

Radio Astrophysics Research

การวิจัยด้านดาราศาสตร์ฟิสิกส์ช่วงคลื่นวิทยุ มุ่งเน้นสำรวจวิวัฒนาการดาวและดาราจักร ทั้งภาคสังเกตการณ์และภาคทฤษฎีควบคู่กันไป สำหรับภาคสังเกตการณ์ ใช้กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 40 เมตร (the 40-m Thai National Radio Telescope: TNRT) และกล้องวีกอส ขนาดเส้นผ่านศูนย์กลาง 13 เมตร (the 13-m VLBI Global Observing System: VGOS) ณ หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ (Thai National Radio Astronomy Observatory: TNRO) เก็บข้อมูลสังเกตการณ์ในรูปแบบโทรทรรศน์วิทยุแบบจานเดี่ยวและแบบเครือข่ายการแทรกสอดระยะไกล (Very-Long-Baseline-Interferometry: VLBI) เพื่อสนับสนุนงานวิจัยที่หลากหลายภายใต้ความร่วมมือกับนักวิจัยทั่วโลก และนอกจากนี้ ยังร่วมมือกับกับหอสังเกตการณ์ภาคพื้นดิน ดำเนินการศึกษาดาราศาสตร์แบบหลากหลายความยาวคลื่น อาทิ กล้องโทรทรรศน์ย่านคลื่นแสงที่ตามองเห็น และกล้องโทรทรรศน์ย่านคลื่นอินฟาเรด เป็นต้น

cover-image

แนวทางการศึกษาวิจัย

image

การก่อตัวของดาวฤกษ์

ช่วงวิวัฒนาการเริ่มต้นของการก่อตัวดาวมวลสูง โดยใช้การสำรวจด้วยการปล่อยรังสีเมเซอร์และเส้นสเปกตรัมโมเลกุลความร้อน

การสร้างแบบจำลองทางทฤษฎี 3 มิติ เพื่ออธิบายกลไกของเมเซอร์และการเปลี่ยนแปลงความเข้มของฟลักซ์และพฤติกรรมของสนามแม่เหล็กที่เป็นลักษณะเฉพาะ

image

พัลซาร์และดาวฤกษ์วิวัฒนาการ

การสลับแมกนีโตสเฟียร์ในพัลซาร์แบบหยุดเต้นและพัลซาร์แบบเปลี่ยนโหมด รวมไปถึงการเปิดเผยโหมดและโปรไฟล์ของพัลซาร์วิทยุ

การศึกษาโพลาไรเซชันของการปล่อยรังสีเมเซอร์ของโมเลกุล SiO พร้อมด้วยการจำลองโพลาไรเซชัน 3 มิติ

การวัดระยะห่างของดาวฤกษ์วิวัฒนาการที่แม่นยำโดยใช้วิธีการ phase-lag ของเมเซอร์

image

โครงสร้างของกาแล็กซีทางช้างเผือก

การหาระยะทางระหว่างวัตถุทรงดาราศาสตร์ในกาแล็คซี่ทางช้างเผือก

การวิจัยแผ่นเปลือกโลกยูเรเชียและซุนดา

นักวิจัย

Infrastructure

image

กล้องโทรทรรศน์วิทยุแห่งชาติ ขนาด 40 เมตร

image

กล้องโทรทรรศน์วิทยุแบบวีกอส ขนาด 13 เมตร จ. เชียงใหม่

เครือข่ายกล้องโทรทรรศน์วิทยุ

1. East Asia VLBI Network (EAVN): https://radio.kasi.re.kr/eavn/main.php

2. Very Long Baseline Array (VLBA): https://public.nrao.edu/telescopes/vlba/

3. Long Baseline Array (LBA): https://www.atnf.csiro.au/vlbi/overview/index.html

4. European VLBI Network (EVN): https://www.evlbi.org/

5. VLBI Exploration of Radio Astrometry (VERA): https://www.miz.nao.ac.jp/veraserver/

6. Japanese VLBI Network: http://astro.sci.yamaguchi-u.ac.jp/jvn/eng/index_e.html

7. Korean VLBI Network (KVN): https://radio.kasi.re.kr/kvn/main.php

8. Ibaraki 32-m radio telescope: http://www.asec.ibaraki.ac.jp/index.php?id=24

9. Yamaguchi 32-m radio telescope: http://astro.sci.yamaguchi-u.ac.jp/

10. Effelsberg 100-m radio telescope: https://www.mpifr-bonn.mpg.de/en/effelsberg

11. Parkes 64-m radio telescope: https://www.csiro.au/en/about/facilities-collections/atnf/parkes-radio-telescope-murriyang

12. TRAO 13.7-m radio telescope: https://trao.kasi.re.kr/main.php

13. James Clerk Maxwell Telescope (JCMT): https://www.eaobservatory.org/jcmt/

14. enhanced Multi-Element Radio Linked Interferometer Network (e-MERLIN): https://www.e-merlin.ac.uk/

15. Australia Telescope Compact Array (ATCA): https://www.narrabri.atnf.csiro.au/

16. upgraded Giant Metrewave Radio Telescope (uGMRT): http://www.gmrt.ncra.tifr.res.in/

17. Atacama Large Millimeter/submillimeter Array (ALMA): https://www.almaobservatory.org/en/home/

18. Gaia: https://www.esa.int/Science_Exploration/Space_Science/Gaia

19. Yebes 40-m radio telescope: https://rt40m.oan.es/

20. Tianma 65-m radio telescope: http://radio-en.shao.cas.cn/facility/radioastronomyobservatory/65meterradiotelescope/

ความร่วมมือ

image-icon

องค์กร East Asia VLBI Network (EAVN)