สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) - สดร.
เราทำเพราะเชื่อมั่น ว่าสิ่งที่ทำสามารถเปลี่ยนแปลงประเทศได้
เชื่อมั่น
มุ่งมั่น
ต่อยอด
เชื่อมต่อ
สร้างคน
OUR MISSION
วิจัย
OUR SERVICES
ประชาชนทั่วไป
โรงเรียน
นักวิจัย
ภาคอุตสาหกรรม
OUR OBSERVATORIES & TELESCOPES
หอดูดาวแห่งชาติ
Thai National Observatory
หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ
Thai National Radio Astronomy Observatory
อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร
Princess Sirindhorn AstroPark
หอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน
Regional Observatory for the Public
กล้องโทรทรรศน์อัตโนมัติในต่างประเทศ
Thai Robotic Telescope Network
Upcoming Events
นักสื่อสารดาราศาสตร์น้อย Little Star Contest 2025 (รอบชิงชนะเลิศ)
แข่งขันรอบชิงชนะเลิศ วันจันทร์ที่ 11 สิงหาคม 2568 ณ เวทีกลาง งานมหกรรมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2568 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพฯ
ก.ค.
11
VISIT US
ท้องฟ้าจำลอง และนิทรรศการ
Social Media
ข่าวดาราศาสตร์
18 กรกฎาคม 2568
นักดาราศาสตร์ตรวจพบคลื่นความโน้มถ่วง จากการรวมตัวของหลุมดำที่มวลมากที่สุดเท่าที่เคยมีมา
วันที่ 15 กรกฎาคม ค.ศ. 2025 เว็บไซต์ของสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย (Caltech) ในสหรัฐฯ เผยว่า โครงการ LIGO-Virgo-KAGRA หรือ “LVK” สามารถตรวจจับคลื่นความโน้มถ่วงซึ่งเป็นผลมาจากการรวมตัวกันของหลุมดำได้ และเมื่อคำนวณค่ามวลของหลุมดำพบว่า มวลรวมสุดท้ายของการรวมตัวกันคือ 225 เท่าของมวลดวงอาทิตย์ นับเป็นการรวมตัวกันของหลุมดำที่มวลมากที่สุดเท่าที่เคยตรวจพบ โดยเหตุการณ์นี้ถูกตั้งชื่อว่า “GW231123”
17 กรกฎาคม 2568
นักดาราศาสตร์จับภาพ “จุดเริ่มต้นการก่อตัวของดาวเคราะห์” ครั้งแรก
ทีมนักวิจัยจากนานาชาติได้ค้นพบดาวเคราะห์ในจังหวะเริ่มก่อตัวรอบดาวดวงอื่นเป็นครั้งแรก พวกเขาได้สังเกตการณ์พื้นที่ที่สสารก่อกำเนิดดาวเคราะห์กระจุกตัวกัน และกำลังจะก่อตัวไปเป็นดาวเคราะห์ในอนาคต ซึ่งพบว่าพื้นที่แห่งนี้เป็นแร่ธาตุร้อน ๆ ที่เพิ่งเริ่มแข็งตัว การค้นพบครั้งนี้นับเป็นครั้งแรกที่มีการสังเกตการณ์ระบบดาวเคราะห์ในระยะแรกเริ่มของการก่อตัว และอาจเป็นกุญแจที่จะไขประตูสู่อดีตของระบบสุริยะของเรา
16 กรกฎาคม 2568
เปิดภาพถ่ายซูเปอร์โนวา SN 2025rbs แบบชัดเจนยิ่งขึ้น จากกล้องโทรทรรศน์อัตโนมัติของ NARIT ปรากฏเป็นจุดแสงสว่างใหม่ในกาแล็กซี NGC 7331 อยู่ห่างจากโลก 45.6 ล้านปีแสง
เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2568 ที่ผ่านมา ดร. สมาพร ติญญนนท์ นักวิจัยด้านจักรวาลวิทยาและฟิสิกส์ดาราศาสตร์พลังงานสูง ใช้กล้องโทรทรรศน์อัตโนมัติ ขนาด 0.7 เมตรของ NARIT ณ หอดูดาวเซียรา รีโมท สหรัฐอเมริกา บันทึกภาพของซูเปอร์โนวาใหม่ SN 2025rbs หลังการค้นพบครั้งแรก
15 กรกฎาคม 2568
นักดาราศาสตร์ไทย ใช้กล้องโทรทรรศน์อัตโนมัติ จับภาพซูเปอร์โนวาใหม่ ภายในเวลาเพียง 2.5 ชั่วโมงหลังการค้นพบแรก
เมื่อวันที่ 14 กรกฎาคม 2568 ที่ผ่านมา ดร. สมาพร ติญญนนท์ นักวิจัยด้านจักรวาลวิทยาและฟิสิกส์ดาราศาสตร์พลังงานสูง ใช้กล้องโทรทรรศน์อัตโนมัติ ขนาด 0.7 เมตร ของ NARIT ณ หอดูดาวเซียรา รีโมท สหรัฐอเมริกา บันทึกภาพของซูเปอร์โนวาใหม่ SN 2025rbs ภายในระยะเวลาเพียง 2.5 ชั่วโมงหลังการค้นพบครั้งแรกโดยโครงการ GOTO ซูเปอร์โนวาดังกล่าวอยู่ห่างจากโลกประมาณ 45.6 ล้านปีแสง ภายในกาแล็กซี NGC 7331