สถาบันวิจัยดาราศาสตร์แห่งชาติ (องค์การมหาชน) - สดร.
เราทำเพราะเชื่อมั่น ว่าสิ่งที่ทำสามารถเปลี่ยนแปลงประเทศได้
เชื่อมั่น
มุ่งมั่น
ต่อยอด
เชื่อมต่อ
สร้างคน
OUR MISSION
วิจัย
OUR SERVICES
ประชาชนทั่วไป
โรงเรียน
นักวิจัย
ภาคอุตสาหกรรม
OUR OBSERVATORIES & TELESCOPES
หอดูดาวแห่งชาติ
Thai National Observatory
หอสังเกตการณ์ดาราศาสตร์วิทยุแห่งชาติ
Thai National Radio Astronomy Observatory
อุทยานดาราศาสตร์สิรินธร
Princess Sirindhorn AstroPark
หอดูดาวภูมิภาคสำหรับประชาชน
Regional Observatory for the Public
กล้องโทรทรรศน์อัตโนมัติในต่างประเทศ
Thai Robotic Telescope Network
Upcoming Events
นักสื่อสารดาราศาสตร์น้อย Little Star Contest 2025 (รอบชิงชนะเลิศ)
แข่งขันรอบชิงชนะเลิศ วันจันทร์ที่ 11 สิงหาคม 2568 ณ เวทีกลาง งานมหกรรมวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแห่งชาติ 2568 ศูนย์การประชุมแห่งชาติสิริกิติ์ กรุงเทพฯ
ก.ค.
11
VISIT US
ท้องฟ้าจำลอง และนิทรรศการ
Social Media
ข่าวดาราศาสตร์
12 กรกฎาคม 2568
“Planet X” ดาวเคราะห์ปริศนาดวงที่ 9 มีจริงหรือไม่ ?
ในเดือนมกราคม ค.ศ. 2016 Konstantin Batygin และ Mike Brown นักดาราศาสตร์จากสถาบันเทคโนโลยีแคลิฟอร์เนีย (Caltech) ในสหรัฐฯ เผยแพร่งานวิจัยที่แสดงหลักฐานบ่งชี้ถึงดาวเคราะห์ที่มีขนาดประมาณ 2-4 เท่าของขนาดโลก ในบริเวณระบบสุริยะชั้นนอก ทั้งนี้ ผลการวิจัยยังคงเป็นเพียงทฤษฎีเท่านั้น ซึ่งนักดาราศาสตร์ทั้งสองคนนี้ไม่ได้สังเกตการณ์จนค้นพบดาวเคราะห์จริง ๆ
10 กรกฎาคม 2568
ต้อนรับกระแสอันร้อนแรงของฮีโร่สุดไอคอนนิคอย่าง “ซูเปอร์แมน” ที่มาพร้อมกับผ้าคลุมสีแดง
จักรวาลของเราก็ไม่แพ้จักรวาลดีซี เพราะเราก็มี “ผ้าคลุมไหล่” เหมือนกัน แม้จะไม่ใช่ผ้าคลุมของซูเปอร์ฮีโร่ แต่นี่คือ… ภาพ “เนบิวลาผ้าคลุมไหล่” จากกล้องโทรทรรศน์อวกาศฮับเบิล (Hubble Space Telescope) เส้นใยแก๊สจากซากซูเปอร์โนวากำลังสยายออกกลางอวกาศอย่างตระการตาราวกับผ้าคลุมที่กำลังพริ้วไหวในห้วงจักรวาล
09 กรกฎาคม 2568
ดาวพฤหัสบดีอาจเคยใหญ่กว่าปัจจุบันนี้ถึง 2 เท่า
ในช่วงนานมาแล้วก่อนที่ดาวพฤหัสบดีจะกลายเป็นดาวเคราะห์ยักษ์ใหญ่สุดในระบบสุริยะอย่างที่เราเห็นในปัจจุบัน ดาวพฤหัสบดีเคยใหญ่กว่าและมีสนามแม่เหล็กที่เข้มกว่านี้มาก โดยงานวิจัยในครั้งนี้ได้ให้ผลลัพธ์ที่แสดงถึงการก่อตัวของดาวพฤหัสบดีในช่วงแรกเริ่ม
04 กรกฎาคม 2568
4 กรกฎาคม 2568 โลกไกลดวงอาทิตย์ที่สุดในรอบปี
โลกโคจรรอบดวงอาทิตย์เป็นวงรี ไม่ได้เป็นวงกลมสมบูรณ์ ทำให้ในแต่ละปี โลกจะมีจุดที่เข้าใกล้ดวงอาทิตย์ที่สุด (Perihelion) และจุดที่ห่างไกลที่สุด (Aphelion)